78 จำนวนผู้เข้าชม |
08/12/2023
ข้อเสื่อม
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis) เป็นภาวะการสึกกร่อนของกระดูกอ่อน ที่บุอยู่บนผิวข้อต่อกระดูกเกิดจากใช้งานข้อมากเกินไป หรือใช้ผิดวิธี หรือข้อเสื่อมจากอายุมากขึ้น พบมากในผู้ป่วยเพศหญิงอายุมากกว่า 50 ปี ผู้ที่มีน้ำหนักตัวมาก เคยมีประวัติการได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อ การใช้ข้อซ้ำๆ อยู่นานๆ เช่น การเดินขึ้นลงบันได การนั่งงอเข่า การยืนนาน ๆ เป็นตัน โรคข้อเสื่อมมักเกิดกับข้อเข่า ข้อกระดูกสันหลังระดับเอว และคอข้อนิ้วมือ และข้อสะโพก โดยจากการเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนที่อยู่ระหว่างข้อทำให้ชิ้นกระดูกที่ถูกคั่นด้วยกระดูกอ่อนเกิดการกระแทกกันได้เมื่อมีการลงน้ำหนักส่งผลให้เกิดการอักเสบ ผู้ป่วยโรคข้อเสื่อมอาจจะมีอาการปวดข้อ ข้อขัด ข้อบวม และผิดรูป การทำงานของข้อเสียไป การเคลื่อนไหวของข้อลดลง ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอาจมีผลทำให้ข้อผิดรูปและพิการได้
คำแนะนำผู้ป่วย
การป้องกันอาการกำเริบ
การจัดการ
ทางเลือกในการรักษา
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
ยา |
ขนาดยารับประทานในผู้ใหญ่ |
ยา |
ขนาดยารับประทานในผู้ใหญ่ |
Loxoprofen |
D: 60 มก. วันละ 3 ครั้ง หรือ 120 มก.วันละครั้ง
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Aspirin |
D: 300-900 มก. ทุก 4-6 ชั่วโมง ขนาดยาสูงสุด: 4,000 มก. ต่อวัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Mefenamic acid |
D: 250-500 มก. วันละ 3 ครั้ง
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Meloxicam |
D: Tab: 7.5 -15 มก. วันละครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 15 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันทีหากมีอาการระคาย เคืองกระเพาะอาหาร |
Diclofenac |
D: Tab: 50 มก. วันละ 2-3 ครั้ง DR tab: 75-100 มก./วัน แบ่งให้วันละ 2-3 ครั้ง ER tab: 75 มก. วันละ 1-2 ครั้ง 100 มก. วันละ 1 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 150 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Nabumetone |
D: 1,000 มก. วันละครั้ง โดยอาจรับประทานเพิ่มอีก 500-1,000 มก. ในตอนเช้า หากมีอาการปวดเพิ่มเติม ขนาดยาสูงสุด: 2,000 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที เพื่อลดการระคาย เคืองกระเพาะอาหาร |
Etodolac |
D: Cap: 200 มก. ทุก 6-8 ชั่วโมง หรือ 400 มก. ทุก 12 ชั่วโมง ขนาดยาสูงสุด: 1,000 มก. ต่อวัน ER tab: 400-800 มก. วันละครั้ง
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Naproxen |
D: 250-500 มก. วันละ 2 ครั้ง
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Fenbufen |
D: 900 มก./วัน โดยอาจแบ่งเป็น 300 มก. ตอนเช้า และ 600 มก. ตอนเย็น
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Piroxicam |
D: 10-20 มก. วันละครั้ง ขนาดยาสูงสูต: 20 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Floctafenine |
D. 200-400 มก. ทุก 6-8 ชั่วโมง ขนาดยาสูงสุด 1,200 มก./วัน |
Proglumetacin |
D: 150-300 มก. วันละ 2 ครั้งขนาดยาสูงสุด 600 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Flurbiprofen |
D: 50 มก. วันละ 2-4 ครั้ง หรือ 100 มก. วันละ 2 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด : 300 มก./วัน (เฉพาะกรณีจําเป็นเท่านั้น)
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Sulindac |
D: 150-200 มก. วันละ 2 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 400 มก./วัน
A:รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Ibuprofen |
D: Tab/cap: 400-800 มก. วันละ 3-4 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 3,200 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Tenoxicam |
D: 20 มก. วันละครั้ง
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Indometacin |
D: Cap: 25 มก. วันละ 2-3 ครั้ง อาจพิจารณาเพิ่มขนาดยา ครั้งละ 25-50 มก. เว้นระยะห่างประมาณ 1 สัปดาห์ต่อการ ปรับแต่ละครั้ง จนได้ขนาดยา 150-200 มก./วัน ขนาดยาสูงสุด: 200 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Tiaprofenic Acid |
D: 200-300 มก. วันละ 2-3 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 600 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
Ketoprofen |
D: Cap: 100 มก. วันละ2 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 300 มก./วัน PR cap:100 -200 มก. วันละครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 200 มก./วัน
A: รับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันที |
||
D-dosage (ขนาดยา) A-administration (วิธีการบริหารยา) DR-delayed release ER-extended-release PR-prolonged release Tab-tablet(s) DR Tab-delayed release tablet(s) PR Cap-prolonged release capsule(s) Cap-capsule(s) มก. -มิลลิกรัม |
(Dosage and Administration) :
ยา |
ขนาดยารับประทานในผู้ใหญ่ |
ยา |
ขนาดยารับประทานในผู้ใหญ่ |
Lecoxib |
D: 200 มก. วันละ1-2 ครั้ง ขนาดยาสูงสุด: 400 มก./วัน
A: อาจรับประทานตอนท้องว่างหรือหลังอาหารได้ |
Etoricoxib |
D: 30-90 มก. วันละครั้ง
A: อาจรับประทานตอนท้องว่างหรือหลังอาหารได้ |
D-dosage (ขนาดยา) A-administration (วิธีการบริหารยา) มก.-มิลลิกรัม |
· ยากลุ่ม NSAIDs และ selective COX-2 Inhibitor มีผลเพิ่มความเสี่ยงต่อการอุดตันของหลอดเลือดแดง ได้แก่ โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย และโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงยังทำให้เกิดแผลหรือเลือดออกในทางเดินอาหารได้
ยาแก้ปวดที่ไม่ใช่กลุ่ม Opioids
ยาแก้ปวดกลุ่ม Opioids
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์
ยาอื่นๆ ในระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
© 2024 Company, Inc